การเมืองไทยปีมังกรทอง 2567 เหลียวหลังแลหน้า ประเมินสถานการณ์รอบทิศแล้ว ชี้ชัดๆ ได้ว่าร้อนแรง เป็นมังกรทองพ่นไฟให้ได้เห็นกัน. นุชนาฏ ได้งานเป็นผู้ช่วยเชฟในโรงเรียนสอนทําอาหารในโรงแรมชื่อดังเธอได้ร่วมงานกับหัวหน้าเชฟสุดเนี้ยบอย่าง ปกรณ์ ที่เป็นคนไทยเหมือนกันแต่กลับไม่เคยออมชอม… 10 ประเด็นการเมืองไทยปี 2567 นี้ แต่ละเรื่องจะก่อให้เกิดความร้อนแรงได้มากน้อยขนาดไหนมารอดูกัน… ที่สำคัญคือการชดเชยแต้มต้นทุนหน้าตักที่เสียหายหนักจากการผิดคำพูด ฉีกขั้วประชาธิปไตยไปจัดตั้งรัฐบาลสูตรพิสดาร ผสมพันธุ์ขั้ว 3 ป.
1 มกราคม 2567 นายเทพไท เสนพงศ์ อดีต สส.นครศรีธรรมราช วิเคราะห์ “อนาคต 3 พรรคการเมือง ปี2567” ผ่านเฟซบุ๊ก “เทพไท เสนพงศ์-คุยการเมือง” ดังนี้… ในขณะที่ “เรืองไกร ลีกิจวัฒนะ” ไม่พลาด รับลูกต่อทันทีโดยแจ้งสื่อว่าในวันพรุ่งนี้ (1 ก.พ.2567) จะเดินทางไปยื่นหนังสือถึง กกต. ไล่ตั้งแต่ คดีการถือครองหุ้นของศักดิ์สยาม ชิดชอบ อดีต รมว.คมนาคม ที่ปัจจุบันเป็นเลขาธิการพรรคภูมิใจไทย ที่จะอ่านคำวินิจฉัยวันที่ 17 ม.ค.2567 ตามด้วยคดีหุ้นสื่อไอทีวีของพิธา ที่นัดอ่านคำวินิจฉัยวันที่ 24 ม.ค.
มีการคาดหมายกันว่า รัฐบาลเศรษฐาน่าจะมีการปรับ ครม.ครั้งแรกช่วง พ.ค.-มิ.ย.ปีหน้า เพราะบุคลิกการเมืองของ ทักษิณ ชินวัตร ที่อยู่เบื้องหลังการตัดสินใจทั้งหมดของรัฐบาล จะนิยมปรับ ครม.ภายในช่วง 6-8 เดือน ซึ่งรัฐบาลเศรษฐา เมื่อไปถึงช่วง พ.ค.2567 ก็ถือว่าครบ 8 เดือนแล้ว ทำให้มีโอกาสสูงที่จะมีการปรับ ครม. อย่างที่ชัยธวัช ตุลาธน หัวหน้าพรรคก้าวไกล พูดมาตั้งแต่วันแรกที่รับตำแหน่งว่าตอนนี้เป็นการปรับทัพชั่วคราวเนื่องจากเหตุจำเป็นทางกฎหมาย และพร้อมคืนเกาอี้ให้กับพิธาเสนอหากเขากลับมาทำหน้าที่ สส. ดังนั้น การแสวงหาฉันทามติของสังคมภายใต้ความขัดแย้งใหม่ เพื่อตั้งมั่นระบบการเมืองที่เป็นประชาธิปไตย จึงเป็นโจทย์ท้าทายสำคัญของการเมืองไทยในอนาคตอันใกล้. การแก้ไขรัฐธรรมนูญในประวัติศาสตร์ที่ผ่านมา ประชาชนไม่เคยแก้ไขได้สำเร็จ รัฐธรรมนูญทุกฉบับที่เขียนขึ้นมาใหม่เพราะถูกฉีกด้วยอำนาจจากปลายกระบอกปืนเท่านั้น. แต่กว่าจะถึงวันที่ประชาชนจะมีรัฐธรรมนูญใหม่ จะต้องเข้าคูหาอีกอย่างน้อย 4 ครั้งคือ การให้ความเห็นชอบว่าต้องการมีรัฐธรรมนูญฉบับใหม่, ให้ความเห็นชอบรัฐธรรมนูญที่มีการแก้ไขเพื่อเปิดทางให้มี สสร., เลือกตั้ง สสร. และปิดท้ายด้วยการให้ความเห็นชอบรัฐธรรมนูญที่ร่างโดย สสร.
จากสาเหตุหลายปัจจัยทั้งการเมืองภายในและผลจากปัญหาทางเศรษฐกิจสะสมมาตั้งแต่สมัยรัฐบาลพลเอก ชาติชาย ผนวกกับปัญหาเศรษฐกิจการเมืองระหว่างประเทศในยุคโลภาภิวัตน์จึงนำไปสู่การชุมนุม ระหว่างวันที่ พฤษภาคม พ.ศ. 2535 และมีการปราบปรามผู้เข้าร่วมชุมนุมจนกระทั่งมีผู้เสียชีวิตและผู้สูญหาย จึงเรียกเหตุการณ์นี้ว่า “พฤษภาทมิฬ” หากในมุมมองของผู้ร่วมชุมนุมฯ ได้เรียกเหตุการณ์นี้ว่า “พฤษภาประชาธรรม” เนื่องจากเป็นการชุมนุมเรียกร้องประชาธิปไตยและความชอบธรรมต่อความอยุติธรรมทางการเมืองที่ออกแบบและปกครองโดยคณะฯ รสช. ดังนั้นสมการการเมืองก็จะเปลี่ยนกลับมาเป็นการเลือกนายกฯ ในสภาผู้แทนราษฎรทั้งหมด 500 เสียง กึ่งหนึ่งคือ 250 เสียง พรรคที่ได้จำนวนที่นั่งมากที่สุดในสภาผู้แทนราษฎรก็จะกลับมามีโอกาสได้จัดตั้งรัฐบาลและครองเก้าอี้นายกฯ โดยไม่ต้องพึ่งพาเสียงจาก สว.