ของข้าราชการเพิ่งจะประกาศในกฤษฎีกา ของลูกจ้างประจำคงต้องรอนะค่ะ เพราะพนักงานราชการก็ออกมาใช้แล้ว อาจไม่เกินเดือนเมษายน 2554 นี้หรอกค่ะ ถ้ามีจะรีบนำมาแจ้งให้ทราบนะค่ะ… ลองสอบถามหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ ว่าใช่หรือไม่ ถ้าใช่ แล้วถามว่า ตำแหน่งของคุณสามารถปรับเปลี่ยนได้หรือไม่ หรือศึกษาในกระทู้ที่พวกเพื่อน ๆ ได้ถามมาก็ได้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… ดูคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง + หน้าที่ของตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ four ที่เราต้องปฏิบัติ + คำสั่งมอบหมายงานของเราที่ทำอยู่ ว่าตรงกับตำแหน่งพนักงานธุรการ ระดับ 4 หรือไม่ ถ้าตรงก็สามารถทำได้ค่ะ… ไม่ว่าลูกจ้างประจำหรอกค่ะ ข้าราชการก็มีเยอะไป ที่เป็นเช่นคุณ ไม่ใช่คุณคนเดียวหรอก…แต่บอกแล้วไง ขึ้นอยู่กับหัวหน้าส่วนราชการ ถ้าเขามีจิตสำนึกที่ดี ไม่ลำเอียงจนเกินไป รักลูกน้องเท่ากันทุก ๆ คน…คงไม่มีปัญหามาถึงปัจจุบันหรอกค่ะ… ไม่ทราบว่าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ …เนื่องจากข้อมูลไม่ละเอียดพอ…ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการหรือไม่ ถ้าเป็นเทศบาล ต้องสอบถามที่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นนะค่ะ…เพราะไม่เกี่ยวกับลูกจ้างประจำของส่วนราชการนะค่ะ…ที่พี่เขียนนี้จะเกี่ยวกับระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการค่ะ…

ก็เปลี่ยนตำแหน่งจากเดิมที่ใช้แรงงาน ก็เป็น พนักงานพิมพ์ ช่างครุภัณฑ์ แม่บ้าน ค่ะ… เหลือเพียงแต่จะปรับให้เปลี่ยนตำแหน่งใหม่ค่ะ แต่ก็ต้องดูที่การพัฒนาของแต่ละคนด้วยค่ะ ว่าจะได้หรือไม่… แท่งค่าจ้างของลูกจ้างประจำ (1 เม.ย.54) ยังไม่มีค่ะ…ถ้ามีแล้ว จะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ… การเทียบค่าจ้างได้เท่าเดิมค่ะ…จะค่อย ๆ เพิ่มขึ้น จนถึงเพดานสูงสุดของกลุ่ม 1 ก่อนแล้วจึงปรับเข้าสู่กลุ่ม 2 ค่ะ… ให้ดูค่าจ้างในแต่ละระดับนะค่ะ…ค่าจ้าง รัฐเปิดเพดานให้แล้วค่ะ…

นักการภารโรงเงินเดือน

ก่อนอื่น ต้องขอทราบว่า คุณคือ ลูกจ้างประจำ ที่ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ ถ้าใช่ สงสัยเรื่องเงินเดือนของคุณนะค่ะว่า ทำไมได้รับเพียง 4,800 บาท เพราะในระเบียบเขาจะกำหนดขั้นต่ำไว้ที่ 5,080 หรือไงนี่แหล่ะค่ะ ให้ดูตามไฟล์ด้านล่าง ลองคลิกดูนะค่ะ รหัส พนักงานบริการ คือ 1117 ค่ะ เลื่อน curser ลงไปที่รหัสดังกล่าวนะค่ะ ทั้ง 2 ไฟล์ จะทำให้ทราบเรื่องขั้นค่าจ้างขั้นต่ำ – ขั้นสูง และทราบหน้าที่ที่เราต้องรับผิดชอบค่ะ ว่าต้องทำอะไรบ้างกับตำแหน่งที่เราเป็นอยู่ค่ะ…ถ้าสงสัยก็ถามมาใหม่นะค่ะ… ไม่ทราบว่าลูกจ้างประจำของสังกัดกระทรวงกลาโหม ใช้ระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ พ.ศ. 2537 หรือไม่ค่ะ ถ้าใช้ ก็น่าจะปรับเปลี่ยนเหมือนเช่นที่ผู้เขียนบอกค่ะ…แต่ถ้าไม่ใช่ต้องสอบถามที่หัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ…เพราะต้องเข้าใจว่า บางครั้งกฎหมายราชการมีมากมายเหลือเกินค่ะ เกินว่าที่ผู้เขียนจะทราบหมดทุกเรื่องค่ะ…

นะค่ะ ถ้าอยู่ในตำแหน่งระดับครุภัณฑ์ ระดับ three น่าจะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง กลุ่มที่ 2-3 นะค่ะ… ขอบคุณมากๆๆ เลยค่ะสำหรับคำตอบที่ช่วยคลายความสงสัยคะ… กระบวนการดำเนินการ อาจมีการสอบ ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะ… แต่ถ้าปัจจุบันส่วนกลางมอบอำนาจมาให้ส่วนราชการดำเนินการเองแล้ว ก็ดำเนินการประกาศ ฯ แบบที่พี่บอกข้างต้นนั่นแหล่ะค่ะ… อ่าน เรื่อง “ระเบียบและกฎหมายที่ลูกจ้างประจำควรทราบ” ได้จากบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ… แต่ถ้าเราเคยเป็นช่างครุภัณฑ์ ระดับ three มาแล้ว + มีคำสั่งให้เราทำเกี่ยวกับเรื่อง ช่างไม้ ก็สามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้แล้วค่ะ…

สำหรับลูกจ้างประจำนั้น การจ้างของรัฐก็ต้องดูในเรื่องการบรรจุในครั้งแรกค่ะว่า รัฐจ้างมาเป็นลูกจ้างประจำด้วยวุฒิการศึกษาใด ต่อมาเมื่อเรียนจบนั้น ก็ไม่ใช่หมายความว่า สามารถนำวุฒินั้นมาปรับให้ขั้นค่าจ้างสูงขึ้นได้เลย…อาจมีบางตำแหน่งที่ต้องใช้วุฒิที่สูงขึ้นได้ แต่บางตำแหน่งก็ไม่ใช่ต้องใช้วูมิสูงขึ้นนั้นหรอกค่ะ… ให้ดูองค์ประกอบในตำแหน่งของพนักงานพิมพ์ ชั้น ด้วยนะค่ะว่า…ถ้าเราเปลี่ยนเป็นชั้น 3 แล้ว ต้องเป็นพนักงานพิมพ์ ชั้น 1 ก่อนหรือเปล่า แล้วเราอายุมากหรือไม่ ถ้ายังอายุไม่มาก ควรเปลี่ยนค่ะ เพราะจะเป็นการขยายเพดาน แต่เราต้องมีคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่ง คือ พิมพ์คอมฯ เป็นด้วยนะค่ะ…พัฒนาตนเองให้หัวหน้าส่วนราชการเห็นว่าเรามีการพัฒนาตนเอง สามารถทำงานที่ยากขึ้นได้ มีน้ำใจต่อเพื่อน ต่อหัวหน้างาน ทำงานได้ไม่แพ้ข้าราชการ… อีกอย่างการทำงานในปัจจุบัน ควรลดเรื่อง “อำนาจ” ได้แล้ว ควรทำงานที่เป็นไปตามภาควิชาการจริง ๆ คือ “การทำงานเป็นทีม”…การทำงานตามหน้าที่ ตามตำแหน่งที่ได้รับผิดชอบ ฯลฯ ข้อสำคัญ การทำงานภาคราชการ ต้องไม่เลือกปฏิบัติที่จะทำ ยิ่งเป็นผู้บังคับบัญชาของคนในสังกัด ยิ่งต้องดูแลให้ทั่วถึง ไม่ควรเลือกปฏิบัติ เพราะเขาทำงาน เขาก็ต้องต้องการขวัญ กำลังใจ + ความสุขในการทำงานกันทุกคน อย่าลืมว่า!!!

นักการภารโรงเงินเดือน

| พรุ่งนี้กินไรดี เอาใจสายคาเฟ่ผู้รักของหวานที่.. “Atomic Pills” คาเฟ่สุดอร่อยแต่มาแบบแคลอรีต่ำ ทานได้แบบไม่ต้องกลัวอ้วน เพราะทุกจานถูกเลือกโดยคุณหมอ! © 2021 Trang1.go.th | สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาตรัง เขต 1 | Powered by WordPress. มหาวิทยาลัยมหามงกุฎราชวิทยาลัย รับสมัครลูกจ้างชั่วคราว รวม 36 อัตรา เง.. การจะสมัครได้หรือไม่นั้น ขึ้นอยู่กับคุณสมบัติที่ทาง สพฐ.จะเป็นผู้กำหนดค่ะ…ว่าวุฒิใดบ้างที่สามารถสมัครได้ … ค่ะ เมื่อเลื่อนขั้นแล้ว ก็ปรับ 5 % ให้กับลูกจ้างได้เลยค่ะ…ตามไฟล์หนังสือข้างต้นค่ะ…

เพราะจะทำให้คนที่ไม่รู้ ไม่ทราบ ได้รับรู้ รับทราบและปฏิบัติได้อย่างถูกต้องค่ะ… ต้องขอของคุณสำหรับคำอวยพรนะค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ… ค่ะ…งานสารบรรณ เห็นว่าง่าย ๆ แต่พอได้ปฏิบัติจริง ๆ แล้ว ก็ไม่ใช่เรื่องง่ายหรอกค่ะ มีเกร็ดเล็ก เกร็ดน้อยเยอะมากค่ะ…

สำหรับเรื่องอื่น ๆ ก็อยู่ที่ส่วนราชการคุณว่าต้องการหรือไม่ เช่น แฟ้มสะสมผลงาน ตั้งแต่เริ่มแรก – ปัจจุบัน + ข้อมูลการพัฒนาตนเองของคุณ (การอบรม + การประชุมต่าง ๆ + ความรู้ที่คุณได้รับการพัฒนามา) + รูปภาพกิจกรรมต่าง ๆ ที่คุณได้ปฏิบัติงานมา (ถ้ามี) ค่ะ… ขอเรียนถามว่าในกรณีที่เป็นพนักงานขัยรถยนต์ ขั้นเงินเดือนตอนนี้อยู่ในกลุ่ม 1 เมื่อตันเงินเดือนจะเลื่อนไปขั้น 2 เลยหรือไม่ หรือต้องมีการสอบประเมินอีกหรือเปล่า รบกวนหน่อยนะค่ะ….. “หมวดเจี๊ยบ” เผย ครม.อนุมัติปรับขึ้นอัตราเงินเดือน ลูกจ้าง-ภารโรง คณะกรรมการปฏิรูป ก.ม.ทั้งให้ สพฐ.รองรับ นศ.ทุนพระราชทานกลับภูมิลำเนา “ครูคืนถิ่น” นอกจากนี้ให้กีฬาแห่งชาติจัด 2 ปีต่อครั้ง… ตำแหน่งช่างเครื่องมือกล ระดับ 2 นั้น อยู่กลุ่มบัญชีที่ 1-2 ค่ะ สำหรับการเลื่อนขั้นค่าจ้างนั้นจะต้องเลื่อนให้เต็มขั้นกลุ่มบัญชีที่ 1 ก่อน จึงจะสามารถเลื่อนไปยังกลุ่มบัญชีที่ 2 ได้ค่ะ ลองศึกษาที่รหัส 3314 ด้านล่างนี้ดูนะคะ… การเปลี่ยนตำแหน่งนั้น ไม่ใช่เป็นความต้องการของตัวเราเอง แต่มาจากการที่ตัวคุณเองได้มีการพัฒนาการทำงานในทางที่ดีขึ้น สามารถทำงานได้กว้างขึ้น ไม่ใช่ทำงานแบบเดิม ๆ แล้วก็ขอปรับเปลี่ยน คงไม่ใช่ แต่ถ้าคุณมีการพัฒนาตัวคุณเอง มีความรู้ ความสามารถในตำแหน่งที่จะปรับเปลี่ยน (เรียกว่า มีเส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ) ส่วนราชการก็สามารถกระทำให้ได้ค่ะ…

ใช้ระเบียบคนละฉบับ ก็ไม่ใช่ ให้คุณสอบถามเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบดูก่อนนะค่ะ ผู้เขียนเกรงว่าถ้าตอบไปแล้วผิด เพราะปัจจุบันกฎหมายมีมากมายเหลือเกิน…แต่ถ้าความหมายของลูกจ้างประจำของส่วนราชการหมายรวมถึงลูกจ้างประจำของ อบต. รวมอยู่ด้วยแล้วล่ะก็สามารถปรับค่าจ้างได้ค่ะ… (เนื่องจาก อบต. เพิ่งจะมาก่อตั้งหลังจากระเบียบลูกจ้างประจำของส่วนราชการ)เพราะในความหมายของลูกจ้างประจำของส่วนราชการตามระเบียบนั้น มีสังกัดตามส่วนราชการ กระทรวง ค่ะ เลยไม่แน่ใจว่าหมายความรวมถึง ลูกจ้างประจำของ อบต.หรือไม่…อย่างไรแล้ว ขอให้สอบถามเจ้าหน้าที่งานการเจ้าหน้าที่หรืองานบุคคลดูก่อนนะค่ะ…

การโอนย้าย ขึ้นอยู่กับส่วนราชการค่ะว่าจะให้โอนย้ายได้หรือไม่…เพราะเห็นบางส่วนราชการก็ให้โอนย้ายได้ บางส่วนราชการก็ไม่ให้โอนย้ายค่ะ เหตุอาจมาจากการเสียอัตรากำลังไงค่ะ…ให้คุณปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการดูนะค่ะ…เพราะทางกรมบัญชีกลางจะมีหน้าที่เกี่ยวกับเรื่องค่าจ้างค่ะ… ต้องเริ่มต้นเงินเดือนของการเป็นครูผู้ช่วยค่ะ เงินเดือนไม่สามารถนำมารวมกันได้ค่ะ เพราะเป็นบุคลากรภาครัฐคนละประเภทกัน ภาระงานก็แตกต่างกันค่ะ… จากที่เขียนบล็อกมา ทำให้ทราบว่า ส่วนราชการไทย ควรพัฒนาด้านความรู้ให้กับหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ อย่างแท้จริงในการให้ความสำคัญ สิทธิประโยชน์ของกลุ่มบุคลากรในองค์กรนั้น ๆ อย่างมากจริง ๆ ค่ะ… ในกรณีที่คุณแจ้งมานั้น อาจเป็นการเปลี่ยนเพียงระดับกระมังค่ะ เช่น ช่างไม้ 1 เป็นช่างไม้ 2 ช่างไม้ 3 ช่างไม้ four เหตุที่ได้ น่าจะลูกจ้างประจำท่านนั้น ไม่ได้เปลี่ยนตำแหน่งเช่นอย่างคุณ ส่วนราชการจึงทำให้ค่ะ… ตำแหน่งพนักงานขับรถยนต์ อยู่ในระหัส 2913 ค่ะ เราควรทำบัญชีคุมลูกจ้างประจำไว้ด้วยนะค่ะ…ว่าปัจจุบันเขาอยู่ตำแหน่งใด ระดับใด กลุ่มบัญชีค่าจ้างที่ 1 หรือ 1-2 หรือ 3 ค่ะ เพราะจะง่ายต่อการที่เราไม่ทำผิดพลาดในภายหลังค่ะ… ให้ดูว่า ลูกจ้างประจำ อยู่ในระดับชั้นใดนะค่ะ ถ้าระดับ 1 จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1 แต่ถ้าอยู่ระดับ 2 จะอยู่ในกลุ่มบัญชีค่าจ้าง 1-2 ซึ่งค่าจ้างเมื่อเต็มระดับ 1 ก็สามารถไหลไปที่ 2 ได้ค่ะ กรณีหลังไม่ต้องประเมินค่ะ ให้ดูที่บัญชีเงินเดือน + ระดับของลูกจ้างประจำเดิมด้วยนะค่ะ…

มีอีกวิธีหนึ่งค่ะ ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลาง ดูนะค่ะ เพื่อเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลางจะได้ชี้แนะได้บ้างค่ะ…ได้ผลอย่างไร แจ้งให้พี่ทราบด้วยในกระทู้นี้นะค่ะ เพื่อบอกให้เพื่อน ๆ ได้ทราบข่าวความเคลื่อนไหวไงค่ะ… คงต้องรอกฎหมายของลูกจ้างประจำก่อนกระมังค่ะ…เพราะตอนนี้ยังไม่เห็นมีค่ะ เอาไว้จะถามกรมบัญชีกลางให้แล้วจะมาบอกนะค่ะ… เวลาจะขอปรับเปลี่ยนตำแหน่ง ขอให้ดูให้ดี ๆ นะค่ะ ว่าตำแหน่งใหม่ที่จะขอปรับเปลี่ยนนั้น ชื่อเต็ม ที่ถูกต้องของตำแหน่งนั้น คือ ตำแหน่งใด เพราะถ้าพิมพ์ผิดจะทำให้เกิดการสับสนและความวุ่นวายจะตามมาค่ะ…

ก่อนนะค่ะ…เพราะเขาเป็นส่วนราชการที่ต้องดูแลกลุ่มลูกจ้างประจำอยู่…ปรึกษาเขาก่อนก็ได้ว่าเรามีคุณสมบัติครบ และเพื่อความก้าวหน้าของเราเอง…(เขาจะทำเรื่องไปที่ สพฐ. แล้ว สพฐ.จะนำเรื่องคุณเสนอให้ สำนักงาน ก.พ. เองค่ะ)… สำหรับผู้เขียน ขอฝากลูกจ้างประจำทุกท่าน ในเมื่อสำนักงาน ก.พ. ได้พัฒนาปรับปรุงแก้ไขกลุ่มตำแหน่งให้กับท่านแล้ว ขอให้ท่านได้พัฒนาตนเอง หมั่นฝึกฝนความรู้ความสามารถของตนเองรวมทั้งประสบการณ์ในการทำงาน เพื่อผลงานและความก้าวหน้าของตัวท่าน ต่อหน่วยงาน ต่อประเทศชาติ ตลอดจนถึงอนาคตของท่านและครอบครัวจะได้รับความมั่นคงในบั้นปลายที่ท่านได้เกษียณอายุราชการแล้วค่ะ… อย่าลืมว่า…ตั้งแต่ปี 2535 เป็นต้นมา ตั้งแต่ประเทศไทยได้กู้เงินจาก IMF…ซึ่งเงื่อนไขในการกู้เงินจาก IMF…ระบุไว้ว่า ถ้าประเทศไทยจะกู้เงินจากต่างประเทศได้ ประเทศไทยต้องลดอัตรากำลังข้าราชการที่เพิ่มขึ้นในทุก ๆ ปี ให้ได้…ถึงแม้การใช้หนี้ IMF. จะหมดไปแล้ว สำหรับปัจจุบัน ผู้เขียนก็ยังไม่ทราบว่าที่ประเทศไทยไปกู้เงินต่างชาติมาอีกนั้น จะมีข้อแม้ข้อนี้รวมอยู่ด้วยหรือไม่…จึงทำให้รัฐต้องลดอัตรากำลังของข้าราชการไงค่ะ เพราะงบประมาณค่าใช้จ่ายในเรื่องของเงินเดือนเป็นจำนวนค่อนข้างสูงค่ะ…

ให้คุณศึกษาระเบียบงานสารบรรณ หน้า 21 ตามไฟล์ด้านล่างนี้นะค่ะ… สิ่งหนึ่งที่ผู้เขียนต้องการมอบให้ พวกเราทุกคนค่ะ เลยมาชวนไปดูค่ะ… ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบเรื่องบุคคล ดูก่อนค่ะ… สามารถเป็นระดับ three ได้เลยค่ะ…ค่าจ้างก็จะไต่ไปเรื่อย ๆ ค่ะ… ขอบคุณสำหรับคำอวยพรค่ะ…เช่นเดียวกันค่ะ ขอให้คำพรที่ให้มาก็ย้อนกลับคืนสู่คุณด้วยเช่นกันค่ะ…

สำหรับข้อที่ว่า “เป็นผู้ผ่านการทดสอบมาตรฐานฝีมือแรงงานในระดับชั้นที่มีความสัมพันธ์กับหน้าที่ความรับผิดชอบ” นั้น…หมายถึง เราเคยได้รับการผ่านการทดสอบมาตรฐานจากกรมฝีมือแรงงานไงค่ะ…ที่กรมฝีมือแรงงาน เขาจะมีการทดสอบเกี่ยวกับ เช่น ช่างไม้ ช่างปูน ช่างยนต์ เขาจะมีใบรับรองว่าเราได้ผ่านการทดสอบมาตรฐานการทำงาน เช่น ช่างไม้ เมื่อเทียบกับตำแหน่งช่างไม้ของการทำงาน จะอยู่ในระดับชั้นใด ระบุไว้ค่ะ…เช่น การรับรองคนที่ไม่ได้จบการศึกษา ม.6 ปวช. หรือปริญญาตรี…เรียกว่าไม่ได้เรียนในระบบ… แต่เขามีความชำนาญในการทำงานด้านช่างไม้ ช่างปูน คนกลุ่มนี้ ก็ไปให้กรมฝีมือแรงงานรับรองการมีความชำนาญการของเขา…เพื่อรับรองคนกลุ่มนี้ไปทำงานด้านการก่อสร้างในต่างประเทศไงค่ะ…กรมฝีมือแรงงาน เป็นสถาบันอีกสถาบันหนึ่งที่รับรองความสามารถ ความชำนาญการ ของคนที่ไม่ได้เรียนในระบบ (เรียนโรงเรียนประถม มัธยม มหาวิทยาลัยค่ะ…)…เป็นการให้โอกาสผู้ที่ไม่สามารถเรียนในระบบได้ค่ะ… ขณะที่ นายอำนาจ วิชยานุวัติ รองปลัดกระทรวงศึกษาธิการ ในฐานะรักษาราชการเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กล่าวด้วยว่า เรื่องนี้ภายในวันที่ 20 ตุลาคมนี้ สพฐ.จะจัดสรรงบประมาณลงไปให้โรงเรียนเพื่อให้มีการจ้างต่อเนื่อง ดังนั้นสิ้นเดือนตุลาคมนี้โรงเรียนสามารถจ้างครูธุรการและนักการภารโรงตามอัตราเดิมได้ทันที ตนได้หารือกับสำนักงานพัฒนาบริหารงานบุคคล (สพร.) ของ สพฐ.

ว่าได้หรือไม่ เพราะถ้าข้าราชการเงินเดือนขึ้น ลูกจ้างประจำของส่วนท้องถิ่น ก็น่าจะขึ้นนะค่ะ… หรือไม่ก็สอบถามหัวหน้าส่วนราชการที่คุณสังกัดดูนะค่ะ… เมื่อประกาศผลสอบได้ ก็เรียกบรรจุตามกระบวนการในการสอบคัดเลือกค่ะ…และก็ออกคำสั่งการปรับเปลี่ยนตำแหน่งให้ค่ะ แต่ควรประสานงานกับ ก.พ. + กรมบัญชีกลางด้วยนะค่ะ…อาจเป็นการส่งคำสั่งให้ทราบค่ะ… ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งที่คุณต้องการเปลี่ยน ดูแล้วสามารถเปลี่ยนได้ค่ะ ถ้าทำงานการเงินมาแล้วไม่น้อยกว่า 2 ปี แต่คุณทำมาแล้ว three ปี ก็สามารถทำการเปลี่ยนได้ ให้ปรึกษาหัวหน้าส่วนราชการ + เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบ + คำสั่งที่สั่งการให้คุณปฏิบัติหน้าที่การเงินด้วยนะค่ะ…

สำหรับการปรับเปลี่ยนกลุ่ม น่าจะรอให้เงินเดือนในกลุ่มเดิมเต็มขั้นก่อน แล้วจึงจะทำการปรับเปลี่ยนให้ค่ะ… ที่ทำงานของดิฉันก็เหมือนกัน พวกที่หาข้าว+หาขนมให้กิน มีเงินให้ยืม ได้ 2 ขั้นทุกคน ส่วนคนที่ทำงานตั้งแต่เช้าถึงเย็นไม่ได้ 2 ขั้น ทำให้เกิดการท้อแท้ใจในการทำงาน มองเห็นคะแนนประเมินออกมาแล้วหมดกำหนดลังใจ คนที่ไม่ทำงานเอาแต่รายงานเจ้านายนั้นได้ 2 ขั้น จนคนที่ทำงานนั้นไม่อยากทำงาน ตอนนี้ทำใจอย่างเดียว คิดเสียว่าทำงานเพื่อให้งานเราไปได้ดีก็พอใจแล้ว ไม่สนใจเกี่ยวกับขั้นอีกต่อไป…… เรื่อง แก้ไขการกำหนดกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการ สังกัด สพฐ. เรื่องการกำหนดกลุ่มพื้นที่การศึกษา ประจำเขตตรวจราชการ สังกัด สพฐ. ข้าราชการ(นักภารโรง)ที่เกษียณแล้ว สามารถขายบ้าน+ที่ตัวเองได้ไหมครับ(เป็นที่ของโรงเรียน) ข้าราชการ(นักการภารโรง)ที่เกษียณอายุราชการแล้ว เขาสามารถขายบ้าน+ที่ของตัวเองได้ไหมครับ(เป็นที่ของโรงเรียน) เรื่องราว…

• สำหรับเรื่องสิทธิประโยชน์ ค่ารักษาพยาบาล ค่าเช่าบ้าน ฯลฯ อยู่ในระหว่างที่กระทรวงการคลังตรวจสอบข้อมูลค่ะ… เรียนสอบถามว่าเงินเดือน เม.ย.fifty four นี้ ลูกจ้างประจำได้รับ 5% และ 13 % เหมือนข้าราชการหรือไม่ เพราะที่อ่านเจอไม่เห็นมีพูดถึงลูกจ้างประจำเลย มีแต่ครูเท่านั้น….. ในระบบการบริหารงานบุคคล สำหรับการเสมอภาคนั้น เป็นไปไม่ได้หรอกค่ะ…เพราะขึ้นอยู่กับการวิเคราะห์ค่างานค่ะ…

ให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลางนะคะ ว่าทำได้หรือไม่ เพราะในสมัยก่อนจะต้องระบุว่าคนที่เป็นหัวหน้าจะต้องมีลูกน้องกี่คน แต่ไม่ทราบว่าปัจจุบันยังจะกำหนดการควบคุมลูกน้องอยู่หรือเปล่า…ถ้าดูในคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่นี้ ไม่มีระบุไว้ เพื่อความชัดเจนให้สอบถามไปที่กรมบัญชีกลางนะคะ… การทำงานเกี่ยวกับบุคคล เป็นงานที่เกี่ยวกับสิทธิประโยชน์ของบุคลากรของส่วนราชการ ทุกประเภทจะต้องมีความเทียมเทียมกันเพราะไม่เช่นนั้น ในอนาคตมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพียงแต่ผู้ใต้บังคับบัญชายังรู้กฎหมายไม่มาก ถ้าบางส่วนราชการไปพบเจอบุคคลที่เรียกว่า รู้กฎหมายมาก ๆ ถึงกับมีการขึ้นศาลปกครองได้ค่ะ เพราะในระดับ ม. ลองคลิกดูนะค่ะ ในบล็อกนี้นะค่ะ…เรื่อง บัญชีกำหนดคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งและอัตราค่าจ้างของลูกจ้างประจำ นี่แหล่ะค่ะ… ปัจจุบัน การเป็นข้าราชการ ลูกจ้างประจำ มีหลากหลายสังกัดเหลือเกินค่ะ ไม่เหมือนสมัยก่อน การที่จะแจ้งอะไรให้ทราบก็ต้องให้ได้ข้อมูลที่ชัดเจนจึงจะนำมาแจ้งได้ค่ะ ขอบคุณล่วงหน้านะค่ะ…

ลงวันที่ 23 สิงหาคม 2553 เรื่องแก้ไขข้อคลาดเคลื่อน… อบรมออนไลน์ฟรี สร้าง BOARD GAME แสนสนุกด้วยแอปทวิงเกอร์ วันเสาร์ ที่ 21 ม.ค. ‘ชูวิทย์’ แฉเหตุ ‘นอท สลากพลัส’ ซวย ถูกดีเอสไอบุก ยกสุภาษิต ‘อยู่ให้เป… ‘ยุทธพงศ์’เตรียมยื่นป.ป.ช.สอบ’ณัฏฐพล’ตั้งคนสนิทนั่งเลขาฯสกสค.

ผู้เขียนได้เขียนเรื่อง “การคิดเชิงบวก” ซึ่งสามารถใช้เป็นข้อคิดในการดำเนินชีวิต + การทำงาน อาจมีประโยชน์ต่อการใช้ชีวิตประจำวัน…ศึกษารายละเอียดได้ตามบล็อกด้านล่างนี้ค่ะ…ขอบคุณค่ะ… ซึ่งคุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งในตำแหน่งช่างไม้ ระดับ 3 มีจำนวน 5 ข้อ ซึ่งแต่ละข้อใช้คำว่า หรือ คั่นในระหว่างข้อ ก็แสดงว่าถ้าเรามีคุณสมบัติเข้าเกณฑ์ข้อใดข้อหนึ่ง ก็สามารถเปลี่ยนตำแหน่งได้ค่ะ…แต่อย่าลืม ต้องมีคำสั่งที่เราได้ปฏิบัติเกี่ยวกับตำแหน่งของช่างไม้ นะค่ะ… ขอบคุณค่ะ เป็นหน้าที่ของผู้เขียนอยู่แล้วค่ะ ในเมื่อรู้ ก็ต้องการให้ทุกคน ได้รู้เหมือน ๆ กับที่เรารู้ เพราะปัจจุบันเป็นโลกของการจัดการความรู้จริง ๆ อยู่ที่ใครจะอุทิศหรือสละเวลาให้กับประเทศชาติได้มากน้อยเพียงใด ขึ้นอยู่กับจิตใต้สำนึกของการเป็นข้าราชการจริง ๆ ค่ะ ผู้เขียนเพียงอยากเห็นการพัฒนาของประเทศเป็นไปอย่างจริงจัง การพัฒนานั้น ต้องมาจาก “คน” ก่อน ในเมื่อคนมีการพัฒนาแล้ว ต่อ ๆ ไป ก็จะพัฒนาตามกันมาเองค่ะ… การที่จะมีสิทธิได้รับเครื่องราชอิสริยาภรณ์ ให้เป็นไปตามระเบียบที่ลูกจ้างประจำมีสิทธิได้รับเครื่องราช ฯ ศึกษาในระเบียบดูนะคะ…คลิกที่สารบัญ(บน) ด้านขวามือ ของคุณ จะปรากฎ บล็อกที่ผู้เขียนได้นำมาลงให้หลายเรื่องค่ะ… การที่จะเปลี่ยนตำแหน่งนั้น ขึ้นอยู่กับงานที่คุณได้ปฏิบัติ เช่น ถ้าเปลี่ยนเป็นพนักงานพิมพ์นั้น คุณก็ต้องพิมพ์คอมพิวเตอร์ได้ อีกอย่างก็ต้องไปดูที่คุณสมบัติของพนักงานพิมพ์ในแต่ละระดับว่าจะเปลี่ยนได้หรือไม่ค่ะ…เพราะเมื่อเปลี่ยนตำแหน่งไปแล้วจะมีผลตอนการประเมินผลการปฏิบัติงานไงค่ะ ถ้าพิมพ์ไม่ได้ก็ไม่ควรเปลี่ยน แต่ถ้าพิมพ์ได้ก็จะเป็นไปตามคุณสมบัติของตำแหน่งค่ะ…

ข่าวสดประชาชาติธุรกิจสุดสัปดาห์ศิลปวัฒนธรรมเทคโนโลยีชาวบ้านเส้นทางเศรษฐีสำนักพิมพ์มติชนศูนย์ข้อมูลมติชนมติชนอคาเดมีKhaosod EnglishMatichon Investor Relationร่วมงานกับเรา. การใช้บัญชีอัตราค่าจ้างลูกจ้างของส่วนราชการใหม่ 5 % ตามบล็อกด้านล่างนี้นะค่ะ… ให้คุณดูที่รหัส 2101 คือ ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ระดับ 3 ตามไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ… น่าจะไม่ได้นะค่ะ…เพราะที่แจ้งเกี่ยวกับลูกจ้างประจำทั้งหมดนี้ จะเป็นลูกจ้างประจำที่ใช้ระเบียบของกระทรวงการคลังค่ะ… ดังนั้นการขออนุมัติงบกลางที่เป็นงบฉุกเฉินนี้ก็เพื่อให้ได้เงินที่เพียงพอต่อการจ้างและไม่สะดุดและครอบคลุมกลุ่มอัตราจ้างทุกคน.

AWAKE ดับฝันวันสิ้นโลก สัปดาห์นี้ ดูหนังกับหมี รีวิวภาพยนตร์เรื่องใหม่จาก Netflix ที่จะทำให้ทุกคนต้องหวนกลับมาดูการนอนหลับของตัวเอง ว่าเวลาที่นอนนั้นเพียงพอต่อความต้องการของร่างกายแล้วหรือไม่ใน “… AWAKE ดับฝันวันสิ้นโลก…” • ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงให้ลูกจ้างประจำได้รับสิทธิประโยชน์เพิ่มขึ้น ผู้เขียนจะนำมาแจ้งให้ทราบค่ะ… ถ้าเป็นอย่างที่บอกข้างต้น ก็สามารถปรับตำแหน่งใหม่ได้ ในระดับเดิมค่ะ…

ขั้นวิ่งของค่าจ้าง เป็นภาษาพูดค่ะ…ความจริงแล้วเป็นขั้นของค่าจ้างในแต่ละขั้น เช่น zero.5 ขั้น, 1 ขั้น, 1.5 ขั้น และ 2 ขั้น (การได้ขั้นดังกล่าว ขึ้นอยู่การพิจารณาความดีความชอบ + ผลการปฏิบัติงานของบุคคลคนนั้นค่ะ) โดยในแต่ละกลุ่มงานจะมีขั้นของแต่ละกลุ่มไม่เหมือนกันค่ะ…โดยแต่ละกลุ่มจะมี เขาเรียกว่า “ขั้นต่ำ – ขั้นสูง” (ขั้นสูง คือ เพดานสูงสุดของค่าจ้างในกลุ่มงานนั้นค่ะ)…คือ ค่าจ้างของคุณในกลุ่มงานนี้จะไม่สูงไปกว่านี้ค่ะ เรียกว่า เต็มขั้นค่ะ… คุณต้องศึกษาดูที่หน้าที่ของตำแหน่งผู้ดูแสสถานที่ด้วยนะค่ะว่ามีหน้าที่อย่างไร แล้วคุณปัจจุบันทำงานในลักษณะไหน ทำหรือไม่ ถ้าไม่แล้วหัวหน้าหน่วยงานสั่งให้ทำในตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. หรือไม่ ถ้าเป็นลักษณะงานเหมือนเดิมคงไม่ได้ค่ะ แต่ถ้าภาระงานใช่ตำแหน่งผู้ดูแลสถานที่ระดับ 2/หน. ก็สามารถทำได้ แต่ทั้งนี้ให้ศึกษาหนังสือสำนักงาน ก.พ. ด่วนที่สุด ที่ นร 1008/ว 14 ลงวันที่ 31 มีนาคม 2553 ข้อ 6,7 ก่อนนะค่ะหรือจากไฟล์ด้านล่างนี้ค่ะ…

สำหรับการปรับเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำในตอนนี้…เช่นการเปลี่ยตำแหน่ง เปลี่ยนระดับชั้นให้สูงขึ้น นั้น…เมื่อวานผู้เขียนได้คุยทางโทรศัพท์กับเจ้าหน้าที่ของกรมบัญชีกลาง ท่านแจ้งมาว่า ตามที่สำนักงาน ก.พ. ให้เปลี่ยนตำแหน่งได้นั้น…ขอให้ทุกท่านรอหนังสือจากกระทรวงการคลัง แจ้งมาให้ทราบเกี่ยวกับเรื่องวิธีการ หลักเกณฑ์ การเข้าสู่ตำแหน่งของลูกจ้างประจำก่อนนะค่ะ…ส่วนราชการต้องชะลอไปก่อน จนกว่าจะมีหนังสือจากกระทรวงการคลัง แจ้งมาให้ทราบอีกครั้งค่ะ… ร.ท.หญิง สุณิสา กล่าวอีกว่า ปัจจุบันเจ้าหน้าที่กลุ่มดังกล่าวมีประมาณ 65,172 คน ต้องใช้งบประมาณจำนวน three,300.82 ล้านบาท ซึ่งในจำนวนนี้มีบุคลากรที่ต้องลงไปปฏิบัติงานในจังหวัดชายแดนภาคใต้ ตามนโยบายสร้างสันติสุขภาคใต้ของรัฐบาล จำนวน 2,040 อัตรา ทั้งนี้ ขอให้ หน่วยงานต่าง ๆ ที่มีเจ้าหน้าที่หรือลูกจ้าง ที่ได้รับค่าจ้าง ในลักษณะจ้างเหมา พิจารณาความจำเป็นหากต้องปรับค่าตอบแทนให้สอดคล้องกับนโยบายของรัฐบาล และเสนอความต้องการผ่านคณะกรรมการระดับชาติ เพื่อขอความเห็นชอบจากครม.ต่อไป.

ดูผลของการทำงานของลูกน้องค่ะ…เลยมีความสบายใจ และเป็นเสียงให้กับบุคลากรใน ม. ว่า ให้เน้นการทำงานเป็นหลัก…คุณโชคไม่ดีจังที่หัวหน้าไม่มองถึงผลงาน…แต่ก็ขอเป็นกำลังใจให้นะค่ะว่า ในเมื่อเราทำดีมาตลอด ขอให้ทำความดีนั้นต่อค่ะ…สักวันคงเป็นผลที่เกิดจากการกระทำของเราบ้าง…ใครจะได้อย่างไรก็ช่างเขาเถอะค่ะ…ฟ้ามีตาค่ะ เชื่อในกฎแห่งกรรมบ้างหรือไม่? ของกรมอาชีวศึกษา ใช้ระเบียบของลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ที่พี่ว่านี้นะค่ะ…ถ้าใช้ระเบียบฉบับเดียวกัน ทำไมถึงไปเปลี่ยนตำแหน่งของลูกจ้างประจำตำแหน่งเดิมเขาละค่ะ…ตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชี ที่ ก.พ. กำหนดก็มีนี่ค่ะ…แสดงว่าอยู่ที่ต้นสังกัดดำเนินการให้กับลูกจ้างประจำแล้วนะค่ะ…ลองสอบถามเจ้าหน้าที่ คือ งานการเจ้าหน้าที่ดูนะค่ะ ว่าเปลี่ยนเพราะเหตุใด แล้วตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยนคือ ตำแหน่งใด เพราะไม่ได้แจ้งให้พี่ทราบ จึงไม่ทราบว่าคุณตำแหน่งใดในปัจจุบัน…ตำแหน่งใหม่ที่เปลี่ยน ก็ต้องมีในตำแหน่งที่สำนักงาน ก.พ. ระบุ เป็นมาตรฐานกำหนดตำแหน่งด้วยนะค่ะ ถ้าไม่อย่างนั้นแล้ว จะมีปัญหาในภายหน้าค่ะ…สำหรับการเปลี่ยนตำแหน่งใหม่อีก ต้องดูด้วยนะค่ะ ว่าเราสามารถที่จะก้าวหน้าไปได้อีกหรือไม่…และปัจจุบันทำอยู่หรือไม่ ถ้าตำแหน่งเดิมดีอยู่แล้วก็ไม่ควรเปลี่ยนนะค่ะ… เพราะกระบวนการในการปรับเปลี่ยนในแต่ละตำแหน่งต้องให้ชัดเจนค่ะ ส่วนราชการสามารถตอบคำถามใครต่อใครได้ ว่า ดำเนินการเปลี่ยนระดับให้กับลูกจ้างประจำได้เพราะเหตุใด ส่วนใหญ่ ก็จะทำการสอบ หรือให้ลูกจ้างประจำปฏิบัติงานให้คณะกรรมการได้ดูหรือตรวจสอบค่ะ…ไม่ใช่ปรับได้โดยอัตโนมัติ…สำหรับพนักงานพิมพ์ ก็ต้องดำเนินการพิมพ์ให้กับคณะกรรมการได้ตรวจสอบ ว่าเป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่กระทรวงการคลังกำหนดหรือไม่ค่ะ…

ลองศึกษาไฟล์ด้านล่างนี้ดูนะคะ และค่อย ๆ ศึกษาค่ะ จากบล็อกด้านบนเป็นเรื่องใหม่สุดค่ะ… ให้ศึกษาเรื่องการปรับเข้าสู่ตำแหน่ง ซึ่ง ก.พ. การที่จะไปยังบัญชีกลุ่ม 2 นั้น ก็ต้องได้ขั้นค่าจ้างเต็มขั้นของกลุ่มบัญชี 1 ก่อนค่ะ… คงต้องขึ้นอยู่กับ “จิตใต้สำนึก” ของข้าราชการแต่ละคนแล้วละค่ะ… งานสารบรรณ ยังใช้ของปี 2526 และเพิ่มเติมฉบับที่ 5 พ.ศ.

ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการก็สามารถตอบได้ค่ะ…แต่คุณเป็น ของสังกัด อบจ. งานการเจ้าหน้าที่ ดูนะค่ะ…เพราะกฎหมายจะใช้คนละฉบับหรือเปล่า ไม่แน่ใจค่ะ…แต่ถ้าเป็นลูกจ้างประจำของส่วนราชการ ก็ใช้ที่บล็อกนี้ค่ะ… ขอให้คุณดูมาตรฐานกำหนดตำแหน่ง ของตำแหน่งพนักงานการเงินและบัญชีให้ดีนะค่ะ ว่าจะสามารถเติบโตได้ถึงระดับไหน กับเปรียบเทียบว่าถ้าเป็นพนักงานพิมพ์ ระดับ 1 ต่อไป ก็เป็น ระดับ 2,3,four ซึ่งผู้เขียนขอให้ดูว่าเพดานของค่าจ้าง ตำแหน่งไหนสูงกว่ากันค่ะ ถ้าพอ ๆ กัน ก็ขึ้นอยู่กับคุณตัดสินใจว่าจะไปอยู่ในตำแหน่งไหนค่ะ…แต่พนักงานพิมพ์ เป็นงานที่กว้างกว่าพนักงานการเงินและบัญชีนะค่ะ…ลองศึกษารายละเอียดดูนะค่ะ… ปัจจุบันตำแหน่งนักการภารโรง ในส่วนราชการอื่น ๆ เขาก็ปรับเป็นตำแหน่งอื่นกันแล้ว เช่น เดิมตำแหน่งนักการภารโรง ถ้าทำงานธุรการของโรงเรียนได้ ส่วนราชการก็จะปรับให้เป็นพนักงานธุรการ หรือถ้าพิมพ์คอมฯ ได้ ก็จะปรับให้เป็นพนักงานพิมพ์ ฯลฯ กันค่ะ เพราะตำแหน่งดังกล่าวจะสามารถปรับเลื่อนระดับเป็นระดับ 1, 2 ,three หรือ four กันได้ ซึ่งทำให้มีการเพิ่มขั้นค่าจ้างกันด้วยไงค่ะ… การเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ เป็นช่างไฟฟ้า ให้ดูที่ความประสงค์ของส่วนราชการด้วยนะคะว่า หน้าที่หลักที่ให้คุณได้ปฏิบัติปัจจุบันคือ ตำแหน่งใด และส่วนราชการต้องการให้คุณปฏิบัติงานอะไรส่วนใหญ่…การเปลี่ยนตำแหน่งใหม่ให้ดูที่คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งใหม่ด้วยค่ะว่าสำนักงาน ก.พ.

กำหนดตำแหน่งใหม่หรือไม่…ถ้าทำแบบเดิม ก็ไม่สามารถทำได้ค่ะ… อย่าลืมเข้าไปดูในค่ำคืนนี้นะค่ะ…แล้วจะตกตะลึงในความมหัศจรรย์ค่ะ… แต่ถ้ายังต้องการ ก็โพสต์เข้ามาถามใหม่ก็ได้ค่ะ จะได้ส่งให้ค่ะ… เดิม เจ้าหน้าที่จะไม่แต่งตั้งหรอกค่ะ…โชคดีนะค่ะ…

ข้าราชการ(นักการภารโรง)ท่านนี้ มาบรรจุอยู่ที่โรงเรียนแห่งนี้ เมื่อประมาณปีพ.ศ. คุณสมบัติเฉพาะตำแหน่งของลูกจ้างประจำที่กระทรวงการคลังกำหนด ทุกกระทรวงใช้แนวทางเดียวกันหรือเปล่าคะ เช่น สพฐ. สำหรับช่วงเวลาของการเป็นลูกจ้างประจำ ก็จะได้สิทธิ ตามระเบียบของลูกจ้างประจำค่ะ…เป็นคนละส่วนกันค่ะ…